ขนมหวาน ตามรอยทองหยิบ ทองหยอด
Home » อาหาร » ขนมหวาน ตามรอยทองหยิบ ทองหยอด
ขนมหวาน ตามรอยทองหยิบ ทองหยอด

ขนมหวาน ถ้าให้นึกถึงขนมหวานแบบไทย ๆ เชื่อได้ว่าทองหยิบ ทองหยอดคงจะเป็นขนมหวานอันดับต้น ๆ ที่ถูกนึกถึง และก็ยังเป็นที่นิยมจนถึงทุกวันนี้ เพราะนอกจาจะเป็นขนมหวานที่แสนอร่อยแล้ว ก็ยังมีชื่อเสียงเรียงนามที่เป็นมงคลมาก ๆ จึงมักจะถูกนำไปเป็นขนมหวานในงานมงคลหลายต่อหลายงาน แต่เคยสงสัยกันบ้างไหมคะว่าเจ้าตำรับตำราของทองหยิบ ทองหยอดนั้นมาจากไหน และขนมหวานชนิดนี้มีอายุอานามเท่าไรกันแล้ว เอาล่ะ ถ้าอยากรู้เหมือนกันอย่างนี้ก็มาตามรอยทองหยิบ ทองหยอดไปพร้อม ๆ กันเลยดีกว่า

ต้นกำเนิดทองหยิบ ทองหยอด  หลายคนอาจจะเข้าใจผิดว่าทองหยิบ ทองหยอดเป็นขนมไทยแท้ ๆ และมีกำเนิดมาจากความคิดของคนไทยร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ในความเป็นจริงแล้วทองหยิบ ทองหยอดเป็นขนมที่มีต้นตำรับมาจากประเทศโปรตุเกส แต่ที่กลายมาเป็นขนมหวานขึ้นชื่อของไทย เราได้ก็เนื่องมาจากในสมัยอยุธยา

ประเทศไทยได้มีสัมพันธไมตรีกับชาวต่างชาติ และชาวตะวันตกมากขึ้น ก็เลยมีโอกาสได้รับเอาวัฒนธรรม และความเป็นอยู่ของชาวต่างชาติมาดัดแปลงใช้ในประเทศไทยด้วย ทั้งเรื่องวัฒนธรรมการแต่งกาย และอาหารการกิน ดังนั้นถ้าจะนับกันจริง ๆ ก็ต้องถือว่าคนไทยเรารู้จักทองหยิบ ทองหยอดมาตั้งแต่สมัยอยุธยาเลยล่ะค่ะ

เจ้าตำรับขนมหวานสีเหลืองทอง เนื่องจากประเทศไทย เริ่มคบค้ากับชาวต่างชาติ ขนมหวาน จึงทำให้ท้าวทองกีบม้าหรือชื่อเดิมคือ มารี นินยา เดอ กีย์มาร์ ผู้มีเชื้อสายโปรตุเกส-ญี่ปุ่น และครอบครัวได้อพยพมาตั้งถิ่นฐานในอยุธยา ภายหลังจากพวกซามูไรชุดแรกจะเดินทางเข้ามาเป็นทหารอาสา ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ต่อมามารีก็ได้เข้ารับราชการในพระราชวัง

ในตำแหน่งหัวหน้าห้องเครื่องต้น และมียศตำแหน่งเป็นท้าวทองกีบม้า มีหน้าที่ดูแลเครื่องเงินเครื่องทองของหลวง แต่ในขณะที่รับราชการอยู่ในวังนั้น ท้าวทองกีบม้า ก็ได้ถ่ายทอดตำรับตำราอาหารจากประเทศโปรตุเกส smashingsportclub โดยเฉพาะอาหารหวานจำพวกทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง และขนมผิง แก่บรรดาข้าราชบริพารและผู้หญิงที่ทำงานอยู่ภายในวัง จนในที่สุดตำรับการทำขนมทองหยิบ ทองหยอดก็แพร่กระจายในหมู่คนไทยโดยถ้วนทั่วจวบจนทุกวันนี้

          แม้ว่าทองหยิบ ทองหยอดจะไม่ได้มีเชื้อสายมาจากคนไทยแท้ ๆ แต่ก็เป็นขนมหวานที่อยู่คู่บ้านคู่เมืองของเรามาตั้งแต่สมัยอยุธยา คนไทยทุกคนจึงถือเอาว่าทองหยิบ ทองหยอดเป็นขนมไทยโบราณไปโดยปริยาย ซึ่งนอกจากจะรับประทานกันอย่างอร่อยลิ้นแล้ว ก็ยังมักจะนำไปเป็นขนม หวานในงานมงคลต่าง ๆ เช่น งานมงคลสมรส งานบวช งานวันเกิด และงานขึ้นบ้านใหม่ เพราะถือว่าชื่อขนมที่ขึ้นชื่อว่าทองต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง จะหมายถึงการหยิบเงินหยิบทอง สานต่อความร่ำรวยเงินทองต่อไปในภาคหน้านั่นเอง

ลอดช่องไทย ขนมหวาน น้ำกะทิอร่อยสดชื่นรับหน้าร้อน

ลอดช่องไทย ขนมหวาน น้ำกะทิอร่อยสดชื่นรับหน้าร้อน WBET69 คลายร้อนอันดับต้น ๆ ที่หลายคนนึกถึง ถ้าซื้อกินแล้วไม่ถูกปากก็มาทำกินเองกัน วันนี้เราขอแนะนำเมนูลอดช่อง ตัวขนมทำจากใบเตยเข้มข้น มีลักษณะเป็นเส้นยาว ราดกะทิและโปะน้ำแข็ง เพิ่มท็อปปิ้งอื่น ๆ ได้ตามชอบ

ลอดช่อง คือ ขนมไทยโบราณ ตัวขนมทำจากแป้งข้าวเจ้าใส่ใบเตยสีเขียว ขนมหวาน มีลักษณะเป็นเส้นเนื่องจากกดด้วยพิมพ์ลอดช่อง กินกับน้ำกะทิ และเติมน้ำแข็ง บางสูตรใส่แตงไทย เผือกนึ่ง หรือข้าวเหนียวดำลงไปด้วย

สูตรลอดช่องน้ำกะทิ

ส่วนผสม ลอดช่อง

  1. แป้งข้าวเจ้า 200 กรัม
  2. แป้งเท้ายายม่อม หรือแป้งมัน 50 กรัม
  3. แป้งถั่วเขียว 40 กรัม
  4. ใบเตย 20 ใบ
  5. น้ำปูนใส 1.2 ลิตร
  6. น้ำปูนใส 250 มิลลิลิตร (สำหรับกวนขนม)
  7. น้ำผสมน้ำแข็ง

ส่วนผสม น้ำกะทิลอดช่อง

  1. หัวกะทิ 500 กรัม
  2. น้ำตาลมะพร้าว 300 กรัม
  3. ใบเตย 10 ใบ
  4. เกลือป่น 1/2 ช้อนชา
  5. เทียนอบขนม

วิธีทำน้ำกะทิลอดช่อง

  1. ใส่กะทิ น้ำตาลมะพร้าว และใบเตยมัด ลงในหม้อ เปิดไฟกลาง เคี่ยวจนส่วนผสมละลายและเดือด ค่อย ๆ ใส่เกลือลงไป ชิมรสตามชอบ
  2. ใส่กะทิลงในหม้อที่ปิดฝาได้ จุดเทียนอบขนมจนถึงไขของเทียน ขนมหวาน ใส่ถ้วยเล็ก ๆ วางลงในหม้อ ปิดฝาอบทิ้งไว้ 30 นาที
  1. หั่นใบเตยเป็นชิ้นเล็ก ๆ ใส่ลงในเครื่องปั่น ตามด้วยน้ำปูนใส ปั่นจนละเอียด กรองเอาแต่น้ำ เตรียมไว้
  2. ใส่แป้งข้าวเจ้า แป้งมันสำปะหลัง และแป้งถั่วเขียว ลงไปในน้ำใบเตย โดยปล่อยให้แป้งค่อย ๆ จมลงไปในน้ำจนหมด รอประมาณ 1 นาที โดยไม่ต้องคน เพื่อให้แป้งไม่จับตัวเป็นก้อนและละลายเข้ากับน้ำทั้งหมด จากนั้นค่อย ๆ คนผสมจนเข้าดี กรองด้วยตะแกรง เตรียมไว้
  3. เทส่วนผสมลงในกระทะทองเหลือง นำขึ้นตั้งไฟปานกลาง กวนผสมตลอดเวลา พอแป้งเริ่มเหนียวและจับตัวเป็นก้อนให้ลดไฟอ่อน ค่อย ๆ เทน้ำปูนใสที่เหลือลงไปจนหมด กวนจนส่วนผสมเหนียวและมีสีใส ใช้เวลาประมาณ 45-60 นาที
  4. ตักส่วนผสมลอดช่องเล็กน้อยใส่ลงในน้ำ ถ้าขนมเซตตัวดีและน้ำไม่ขุ่น แสดงว่าแป้งสุกแล้ว ปิดไฟ
  5. ตักส่วนผสมแป้งใส่เครื่องกดลอดช่อง กดแป้งเป็นเส้น ๆ สลับกับหยุดให้แป้งลงไปในน้ำเย็นจัด
  6. ตักลอดช่องใส่ลงในถ้วย ตามด้วยน้ำกะทิที่เตรียมไว้และน้ำแข็ง พร้อมเสิร์ฟ

ถ้าเบื่อลอดช่องกะทิสด ลองใส่ไอศกรีมก็น่าสนใจไม่น้อยเลย ได้ทั้งคลายร้อนแล้วยังหน้าตาเก๋ไปอีก

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *